วิชา 01169551 การจัดการระบบงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ECT
ศึกษาทฤษฎี หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับบริหารจัดการระบบงาน ECT Management of Educational Communications and Technology System : MECTS
วันจันทร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2561
Fiedler Contingency Model
This article explains the Fiedler Contingency Model or Fiedler Model, developed by Fred Fiedler in a practical way. After reading you will understand the basics of this powerful contingency theory of leadership.
Introduction
In the 1960s, Fred Fiedler carried out research on the relationship (contingency) between the effectiveness of the leadership style and the situation. This relationship became to be known as the Fiedler contingency model. With the Fiedler Contingency Model, Fred Fiedler was the precursor of Hershey and Blanchard’s situational leadership model.
Fiedler Contingency Model factors
According to Fred Fiedler effectiveness and leadership depend on a number of factors including the situations and the personal characteristics of the leader. Fiedler distinguished the following three factors:
1. Make up of the group
It is not just the nature and the atmosphere within the group, but also the relationship between the leader and the group that determine the leadership style. Fred Fiedler speaks of an interaction: when the leader fully trusts his employees; they will adopt a loyal and cooperative attitude. Vice versa, a leader will trust his employees when they prove themselves in favour of the company. This group dynamics may also have a negative impact as a result of which the leader is forced to be authoritarian and his employees have to work less independently. If the nature of the group is characterized by conflicts and competitive urges, the leader will be forced to run a tight ship.
2. Nature of the task
The leadership style of the leader depends on the nature of the task. Clear tasks that employees can perform routinely require less supervision than tasks that have to be adjusted and explained time and again.
3. Power of the leader
The formal power of the leader is determined by his hierarchical position on the one hand and by his knowledge and competences on the other. However, the personal authority he more or less radiates naturally will be decisive for his interaction with his employees and therefore also decisive for the situation.
Leadership style
By combining and merging these three situational factors, Fred Fiedler arrives at several efficient leadership styles in which (depending on the situation) both task orientation as people orientation can be effective:
Given that personality (task-orientation and people-orientation) is reasonably stable, the Fiedler contingency model suggests that the situation should be adapted to such an extent that it suits the leader. The Fiedler Contingency Model refers to this as job engineering. Furthermore, training of groups is seen as a method to improve the nature of the relationship within the group.
Critique on the Fiedler contingency model
Throughout the years the Fiedler Contingency Model has also been criticized. For instance, the Fiedler Contingency Model would have little or no flexibility. Fred Fiedler assumed that a natural leadership style of a leader is a fixed given and that this is related to his personality characteristics. He thought that his natural leadership style would therefore be the most effective. What he did not take into account is the fact that a leader does not always have to give in to his natural leadership style and that he can abandon this. Consequently, he can manage on task-orientation or people-orientation.
More information
Fiedler, F. (1987). New Approaches to Leadership, Cognitive Resources and Organizational Performance. John Wiley and Sons.
Fiedler, F. (1971). Reviews studies of the contingency model of leadership effectiveness. Journal: Psychological Bulletin, vol. 76, no. 2, pp. 128-148.
Fiedler, F. (1964). A contingency model of leadership effectiveness. Advances in experimental social psychology, 1, 149-190.
Strube, M. J., & Garcia, J. E. (1981). A meta-analytic investigation of Fiedler’s contingency model of leadership effectiveness. Psychological Bulletin, 90(2), 307.
Vecchio, R. P. (1977). An empirical examination of the validity of Fiedler’s model of leadership effectiveness. Organizational Behavior and Human Performance, 19(1), 180-206.
วันเสาร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2561
แนวความคิดทางการบริหารเชิงสถานการณ์ (The Contingency Approach)
แนวความคิดทางการบริหารเชิงสถานการณ์
(The Contingency Approach)
(The Contingency Approach)
แนวความคิด
ในปี 1967 Fred E.Fiedler ได้เสนอแนวความคิดการบริหารเชิงสถานการณ์
(Situational Management Theory) หรือทฤษฎีอุบัติการณ์ (Contingency
Theory)
ซึ่งถือเป็นทฤษฎีการบริหารที่ขึ้นอยู่กับในเชิงสภาพข้อเท็จจริงด้วยแนวคิดที่ว่าการเลือกทางออกที่จะไปสู่การแก้ปัญหาทางการบริหารถือว่าไม่มีวิธีใดที่ดีที่สุด
หากแต่สถานการณ์ต่างหากที่จะเป็นตัวกำหนดว่าควรจะหยิบใช้การบริหารแบบใดในสภาวการณ์เช่นนั้น
หลักคิดง่ายๆ ของการบริหารเชิงสถานการณ์
นั้นถือว่าการบริหารจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดการตัดสินใจ และรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
และผู้บริหารจะต้องพยายามวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
โดยเป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิดและระบบเปิด
และยอมรับหลักการของทฤษฎีระบบว่าทุกส่วนของระบบจะต้องสัมพันธ์
และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน คือมุ่งเน้น
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมขององค์การ
สถานการณ์บางครั้งจะต้องใช้การตัดสินใจอย่างเฉียบขาด
บางสถานการณ์ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
บางครั้งก็ต้องคำนึงถึงหลักมนุษย์และแรงจูงใจ
บางครั้งก็ต้องคำนึงถึงเป้าหมายหรือผลผลิตขององค์กรเป็นหลัก
การบริหารจึงต้องอาศัยสถานการณ์เป็นตัวกำหนดในการตัดสินใจ
การบริหารเชิงสถานการณ์จะคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลใน
หน่วยงานเป็นหลักมากกว่าที่จะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใช้ในการทำงาน
โดยใช้ปัจจัยทางด้านจิตวิทยาในการพิจารณาด้วย
โดยเน้นให้ผู้บริหารรู้จักใช้การพิจารณาความแตกต่างที่มีอยู่ในหน่วยงาน
เช่น ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างระหว่างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการ
กระบวนการ และการควบคุมงาน ความแตกต่างระหว่างความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กร
หรือความแตกต่างระหว่างเป้าหมายการดำเนินงานขององค์การ เป็นต้น
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
แนวความคิดอ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
ในปี 1967 Fred E.Fiedler ได้เสนอแนวความคิดการบริหารเชิงสถานการณ์ (Situational Management Theory) หรือทฤษฎีอุบัติการณ์ (Contingency Theory) ซึ่งถือเป็นทฤษฎีการบริหารที่ขึ้นอยู่กับในเชิงสภาพข้อเท็จจริงด้วยแนวคิดที่ว่าการเลือกทางออกที่จะไปสู่การแก้ปัญหาทางการบริหารถือว่าไม่มีวิธีใดที่ดีที่สุด หากแต่สถานการณ์ต่างหากที่จะเป็นตัวกำหนดว่าควรจะหยิบใช้การบริหารแบบใดในสภาวการณ์เช่นนั้น หลักคิดง่ายๆ ของการบริหารเชิงสถานการณ์ นั้นถือว่าการบริหารจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดการตัดสินใจ และรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม และผู้บริหารจะต้องพยายามวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด โดยเป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิดและระบบเปิด และยอมรับหลักการของทฤษฎีระบบว่าทุกส่วนของระบบจะต้องสัมพันธ์ และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน คือมุ่งเน้น ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมขององค์การ สถานการณ์บางครั้งจะต้องใช้การตัดสินใจอย่างเฉียบขาด บางสถานการณ์ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ บางครั้งก็ต้องคำนึงถึงหลักมนุษย์และแรงจูงใจ บางครั้งก็ต้องคำนึงถึงเป้าหมายหรือผลผลิตขององค์กรเป็นหลัก การบริหารจึงต้องอาศัยสถานการณ์เป็นตัวกำหนดในการตัดสินใจ
แนวความคิด
ในปี 1967 Fred E.Fiedler ได้เสนอแนวความคิดการบริหารเชิงสถานการณ์
(Situational Management Theory) หรือทฤษฎีอุบัติการณ์ (Contingency
Theory)
ซึ่งถือเป็นทฤษฎีการบริหารที่ขึ้นอยู่กับในเชิงสภาพข้อเท็จจริงด้วยแนวคิดที่ว่าการเลือกทางออกที่จะไปสู่การแก้ปัญหาทางการบริหารถือว่าไม่มีวิธีใดที่ดีที่สุด
หากแต่สถานการณ์ต่างหากที่จะเป็นตัวกำหนดว่าควรจะหยิบใช้การบริหารแบบใดในสภาวการณ์เช่นนั้น
หลักคิดง่ายๆ ของการบริหารเชิงสถานการณ์
นั้นถือว่าการบริหารจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดการตัดสินใจ และรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
และผู้บริหารจะต้องพยายามวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
โดยเป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิดและระบบเปิด
และยอมรับหลักการของทฤษฎีระบบว่าทุกส่วนของระบบจะต้องสัมพันธ์
และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน คือมุ่งเน้น
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมขององค์การ
สถานการณ์บางครั้งจะต้องใช้การตัดสินใจอย่างเฉียบขาด
บางสถานการณ์ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
บางครั้งก็ต้องคำนึงถึงหลักมนุษย์และแรงจูงใจ
บางครั้งก็ต้องคำนึงถึงเป้าหมายหรือผลผลิตขององค์กรเป็นหลัก
การบริหารจึงต้องอาศัยสถานการณ์เป็นตัวกำหนดในการตัดสินใจ
การบริหารเชิงสถานการณ์จะคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลใน
หน่วยงานเป็นหลักมากกว่าที่จะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใช้ในการทำงาน
โดยใช้ปัจจัยทางด้านจิตวิทยาในการพิจารณาด้วย
โดยเน้นให้ผู้บริหารรู้จักใช้การพิจารณาความแตกต่างที่มีอยู่ในหน่วยงาน
เช่น ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างระหว่างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการ
กระบวนการ และการควบคุมงาน ความแตกต่างระหว่างความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กร
หรือความแตกต่างระหว่างเป้าหมายการดำเนินงานขององค์การ เป็นต้น
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
แนวความคิด
ในปี 1967 Fred E.Fiedler ได้เสนอแนวความคิดการบริหารเชิงสถานการณ์
(Situational Management Theory) หรือทฤษฎีอุบัติการณ์ (Contingency
Theory)
ซึ่งถือเป็นทฤษฎีการบริหารที่ขึ้นอยู่กับในเชิงสภาพข้อเท็จจริงด้วยแนวคิดที่ว่าการเลือกทางออกที่จะไปสู่การแก้ปัญหาทางการบริหารถือว่าไม่มีวิธีใดที่ดีที่สุด
หากแต่สถานการณ์ต่างหากที่จะเป็นตัวกำหนดว่าควรจะหยิบใช้การบริหารแบบใดในสภาวการณ์เช่นนั้น
หลักคิดง่ายๆ ของการบริหารเชิงสถานการณ์
นั้นถือว่าการบริหารจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดการตัดสินใจ และรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
และผู้บริหารจะต้องพยายามวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
โดยเป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิดและระบบเปิด
และยอมรับหลักการของทฤษฎีระบบว่าทุกส่วนของระบบจะต้องสัมพันธ์
และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน คือมุ่งเน้น
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมขององค์การ
สถานการณ์บางครั้งจะต้องใช้การตัดสินใจอย่างเฉียบขาด
บางสถานการณ์ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
บางครั้งก็ต้องคำนึงถึงหลักมนุษย์และแรงจูงใจ
บางครั้งก็ต้องคำนึงถึงเป้าหมายหรือผลผลิตขององค์กรเป็นหลัก
การบริหารจึงต้องอาศัยสถานการณ์เป็นตัวกำหนดในการตัดสินใจ
การบริหารเชิงสถานการณ์จะคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลใน
หน่วยงานเป็นหลักมากกว่าที่จะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใช้ในการทำงาน
โดยใช้ปัจจัยทางด้านจิตวิทยาในการพิจารณาด้วย
โดยเน้นให้ผู้บริหารรู้จักใช้การพิจารณาความแตกต่างที่มีอยู่ในหน่วยงาน
เช่น ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างระหว่างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการ
กระบวนการ และการควบคุมงาน ความแตกต่างระหว่างความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กร
หรือความแตกต่างระหว่างเป้าหมายการดำเนินงานขององค์การ เป็นต้น
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
แนวคิดทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ (The contingency approach)
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
แนวคิดทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ (The contingency approach)
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
แนวคิดทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ (The contingency approach)
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/2042
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/2042
สรุปหลักการของการบริหารโดยสถานการณ์
1. ถือว่าการบริหารจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์2. ผู้บริหารจะต้องพยายามวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
3. เป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระะบบปิดและระบบเปิด และยอมรับหลักการของทฤษฎีระหว่างทุกส่วนของระบบจะต้องสัมพันธ์และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
4. สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดการตัดสินใจ และรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
5. คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลในหน่วยงานเป็นหลักมากกว่าที่จะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใช้ในการทำงาน โดยใช้ปัจจัยทางด้านจิตวิทยาในการพิจารณาด้วย
6. เน้นให้ผู้บริหารรู้จักใช้การพิจารณาความแตกต่างที่มีอยู่ในหน่วยงาน เช่น - ความแตกต่างระหว่างบุคคล
- ความแตกต่างระหว่างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน เป็นต้น
- ความแตกต่างระหว่างความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กร
- ความแตกต่างระหว่างเป้าหมายการดำเนินงานขององค์การ เป็นต้น
แนวความคิดทางการบริหารเชิงสถานการณ์ สามารถนำทฤษฎีของ Fiedler มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งทฤษฎีนี้ได้กล่าวไว้ มี 2 ลักษณะดังนี้
1. การศึกษารูปแบบของผู้นำที่มุ่งความสัมพันธ์ (Relationship-oriented leader) เป็นผู้นำที่มุ่งความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ผู้นำจะสร้างความไว้วางใจ ความเคารพนับถือ และรับฟังความต้องการของพนักงาน เป็นผู้นำที่คำนึงถึงผู้อื่นเป็นหลัก (Consideration)
2. ผู้นำที่มุ่งงาน (Task -oriented leader) เป็นผู้นำที่มุ่งความสำเร็จในงาน ซึ่งจะกำหนดทิศทางและมาตรฐานในการทำงานไว้อย่างชัดเจน มีลักษณะคล้ายกับผู้นำแบบที่คำนึงถึงตัวเองเป็นหลัก (Initiating structure style)
2. ผู้นำที่มุ่งงาน (Task -oriented leader) เป็นผู้นำที่มุ่งความสำเร็จในงาน ซึ่งจะกำหนดทิศทางและมาตรฐานในการทำงานไว้อย่างชัดเจน มีลักษณะคล้ายกับผู้นำแบบที่คำนึงถึงตัวเองเป็นหลัก (Initiating structure style)
การบริหารเชิงสถานการณ์ สามารถใช้ทุกทฤษฎีมาประกอบกับประสบการณ์ เพื่อทำให้การตัดสินใจดีที่สุด โดยเฉพาะในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันสูงเช่นปัจจุบัน นับเป็นความท้าทายและโอกาสในการใช้การบริหารเชิงสถานการณ์ในมุมของผู้บริหารที่จะพลิกวิกฤติเป็นโอกาสให้ได้ เป็นการใช้ความรู้ความสามารถทั้งศาสตร์และศิลป์ต่างๆที่มีอยู่ในตัวผู้นำท่านนั้นให้ประจักษ์ออกมาใช้ได้อย่างเต็มสมรรถภาพจริงๆที่เขามีอยู่ เพราะสถานการณ์แต่ละอย่างแตกต่างกัน ทฤษฎีกับบางสถานการณ์ก็แตกต่างกัน แล้วแต่ผู้นำแต่ละท่านจะเลือกใช้ ดังนั้นการบริหารเชิงสถานการณ์ น่าจะเป็นการใช้ความรู้ความสามารถทั้งศาสตร์และศิลป์
ทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ ( Contingency Approach ) องค์การไม่ได้เหมือนกันทุกองค์การ ปัญหามักจะเกิดขึ้นเมื่อองค์การมีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกันในกรณีของการบริหารจัดการแบบวิทยาศาสตร์และหลักการบริหารจัดการที่พยายามออกแบบองค์การทั้งหมดให้มีความเหมือนกัน อย่างไรก็ตามโครงสร้างและระบบของการทำงานในแต่ละฝ่ายนั้นก็ไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในระบบการผลิตได้ทั้งหมด จำเป็นต้องปรับให้เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ เช่นในปัจจุบันผู้บริหารจำนวนมากออกแบบองค์การใหม่เรียกว่า องค์การแห่งการเรียนรู้ ที่จะคอยสนับสนุนให้เกิดการสื่อสารและความร่วมมือกัน ดังนั้นทุกคนจะกำหนดและร่วมกันแก้ปัญหา ทำให้องค์การสามารถดำเนินงานไปได้อย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุงและมีผลผลิตที่เพิ่มขึ้น
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/20420
วันจันทร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2561
กำหนดการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน
สัปดาห์ที่ 1 ศึกษาค้นคว้า ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดทางการบริหารจัดการจัดการระบบงาน ECT มอบหมายงานให้ไปศึกษาดูงานการบริหารจัดการองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT
สัปดาห์ที่ 2 ศึกษาองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT (ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ)
สัปดาห์ที่ 3 ฝึกสร้าง Blog
สัปดาห์ที่ 4 ฝึก SWOT Analysis และสร้าง Mind Map
สัปดาห์ที่ 5 นำเสนอผลการ SWOT และบรรยาย การบริหารและการจัดการ ECT
สัปดาห์ที่ 6 แจ้งชื่อองค์กรหรือหน่วยงานที่จะไปศึกษาดูงาน และประสานทำหนังสือออกจากภาควิชา กรณีที่ได้รับการตอบรับแล้ว
สัปดาห์ที่ 7 ฝึกเขียนโครงการ เช่น โครงการพัฒนา Smart Classroom และฝึกเขียน Gantt Chart
สัปดาห์ที่ 7-12 สร้างแบบสัมภาษณ์/แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง และต้องไปศึกษาดูงานมาเรียบร้อยแล้ว
สัปดาห์ที่ 9 สอบ Midterm
สัปดาห์ที่ 14 การศึกษาดูงานตามหลักการ POSCoRB จัดทำสื่อนำเสนอ และจัดทำรูปเล่มรายงาน
สัปดาห์ที่ 15 นำเสนอกรณีศึกษา ดูงาน และสอบ Final
หมายเหตุ: สามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมต่างๆ ได้ตามความเหมาะสม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Fiedler Contingency Model
This article explains the Fiedler Contingency Model or Fiedler Model, developed by Fred Fiedler in a practical way. After reading...
-
แนวความคิดทางการบริหารเชิงสถานการณ์ (The Contingency Approach) แนวความคิด ในปี 1967 Fred E.Fiedler ได้เสนอแนวความคิดการบริหารเชิงสถาน...
-
This article explains the Fiedler Contingency Model or Fiedler Model, developed by Fred Fiedler in a practical way. After reading...
-
แต่ละสัปดาห์ต้องบันทึกการเรียนรู้/ประมวลความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ของแต่ละคน สัปดาห์ที่ 1 ศึกษาค้นคว้า ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดทางกา...